รายงานการพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้หลักฐานประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นฐานสู่ห้องเรียน รายวิชา ส23103 ประวัติศาสตร์5 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเพชรพิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์
- 07 ธ.ค. 2564 เวลา 06:19 น.
- 1,356
- Tweet
ชื่อเรื่อง รายงานการพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้หลักฐานประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นฐานสู่ห้องเรียน รายวิชา ส23103 ประวัติศาสตร์5
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเพชรพิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์
ผู้รายงาน นายมิตรสัน ด้วงธรรม
ปีที่รายงาน 2562
จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นฐานสู่ห้องเรียน รายวิชา ส23103 ประวัติศาสตร์5
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเพชรพิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์
ผู้รายงาน นายมิตรสัน ด้วงธรรม
ปีที่รายงาน 2562
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้วัตถุประสงค์ของการศึกษา (1). เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้หลักฐานประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ์เป็นฐานสู่ห้องเรียน รายวิชา ส23103 ประวัติศาสตร์5 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเพชรพิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์ (2). เพื่อศึกษา ผลการใช้รูปแบบการสอนโดยใช้หลักฐานประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ์เป็นฐาน สู่ห้องเรียน รายวิชา ส23103 ประวัติศาสตร์5 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน เพชรพิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ซึ่งได้มาจาก การสุ่มแบบเจาะจง ( Purposive sampling ) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา (1). การรวบรวมตัวแปรด้วยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ทั้ง 3 ครั้ง (2). แบบสอบถามตามเทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) จำนวน 3 รอบ (3). แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญ รูปแบบการสอนโดยใช้หลักฐานประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ์เป็นฐานสู่ห้องเรียน รายวิชา ส23103 ประวัติศาสตร์5 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเพชรพิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นคำถาม ปลายปิด (Close-Ended Questions) แบบสเกลตามเทคนิคของออสกูด 7 ระดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า (1). ผลการวิเคราะห์ตัวแปรอิสระ ด้านเรียนการสอน ที่ส่งผลต่อรูปแบบการสอน โดยใช้หลักฐานประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ์เป็นฐานสู่ห้องเรียน รายวิชา ส23103 ประวัติศาสตร์5 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเพชรพิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม 6.44 อยู่ในระดับมากที่สุด พิจารณาเป็นรายองค์ประกอบ พบว่า ทุกองค์ประกอบอยู่ในความเหมาะสมระดับมากที่สุด ได้แก่ ชุดการสอน มีค่าเฉลี่ย 6.48 รองลงมาแผนการจัดการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย 6.43 และคู่มือการใช้ชุดการสอน มีค่าเฉลี่ย 6.40 (2). ผลการวิเคราะห์ตัวแปรอิสระด้านรูปแบบการสอน ที่ส่งผลต่อรูปแบบการสอน โดยใช้หลักฐานประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ์เป็นฐานสู่ห้องเรียน รายวิชา ส23103 ประวัติศาสตร์5 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเพชรพิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม 6.42 อยู่ในระดับมากที่สุด พิจารณาเป็นรายองค์ประกอบ พบว่า ทุกองค์ประกอบอยู่ใน ความเหมาะสมระดับมากที่สุด ได้แก่ การประเมินรูปแบบการสอน มีค่าเฉลี่ย 6.43 รองลงมา การประเมินองค์ประกอบของรูปแบบการสอน มีค่าเฉลี่ย 6.40
Title Report on the Development of Teaching Models using Local
Historical evidence Phetchabun Province is the base for the
classroom. Course S 23103 History 5 For Mathayom3 students at
Petpittayakom School Phetchabun Province.
Reporter Mr.Mitson Doungtham
Reporting year 2019
Historical evidence Phetchabun Province is the base for the
classroom. Course S 23103 History 5 For Mathayom3 students at
Petpittayakom School Phetchabun Province.
Reporter Mr.Mitson Doungtham
Reporting year 2019
Abstract
The purpose of this study was (1) To develop a teaching model using local history evidence in Phetchabun Province as a base for the classroom for the course S 23103 History 5 For Mathayom3 students at Petpittayakom School, Phetchabun Province. (2) To study the results of using a teaching model using local history evidence in Phetchabun Province as a base to the classroom for the course S 23103 History5 For students in Mathayom3 Petpittayakom School, Phetchabun Province.
The sample group consisted of 5 experts, which were obtained from purposive sampling. Educational tools (1) Ariable collection by focus group method for 3 times (2) Questionnaire according to Delphi Technique, 3 rounds (3) Expert questionnaire. Teaching model using local history evidence in Phetchabun Province as a base for classroom S 23103 History5 For Mathayom3 students at Petpittayakom School, Phetchabun Province is a closed-ended question on the scale according to the technique of Osgood 7 levels.
The results showed that (1) Independent variable analysis results teaching that affect the teaching style by using evidence of local history in Phetchabun Province as a base for classroom S 23103 History5 For Mathayom3 students at Petpittayakom School Phetchabun Province, with an overall average of 6.44, the highest level Considering each component, it was found that all components were at the highest level of suitability, i.e., the teaching set had an average of 6.48, followed by the learning management plan with an average of 6.43, and the instruction manual had an average of 6.40. (2) The results of the analysis of independent variables in teaching style that affect the teaching style by using evidence of local history in Phetchabun Province as a base for classroom S 23103 History5 For Mathayom3 students at Petpittayakom School Phetchabun Province, with an overall average of 6.42, the highest level Considering each component, it was found that all elements were in the level of suitability at the highest level was the teaching style assessment with an average of 6.43, followed by the evaluation of the components of the teaching style with a mean of 6.40.